Welcome, Guest
Username: Password: Remember me
คอร์สรักษาโรคทางเลือกด้วย ด้วยเบต้ากลูแคนจากยีสต์ดำ แชร์ประสบการณ์การใช้เบต้ากลูแคน

TOPIC: โรคนิ้วล็อค เบต้ากลูแคน มะโฮ กับการรักษาทางเลือก

โรคนิ้วล็อค เบต้ากลูแคน มะโฮ กับการรักษาทางเลือก 9 years 3 months ago #22

  • catsmaho
  • catsmaho's Avatar
  • OFFLINE
  • Administrator
  • Posts: 34
  • Karma: 0
โรคนิ้วล็อค
ภาวะนิ้วล็อค หรือ ภาวะปลอกหุ้มเอ็นอักเสบ (Trigger finger & Trigger thumb) เป็นภาวะที่มีสาเหตุเกิดจากการหนาตัวขึ้น ปลอกหุ้มเส้นเอ็นบริเวณฐานของนิ้วมือ (A1-pulley) ทำให้เส้นเอ็นเคลื่อนผ่านปลอกหุ้มเส้นเอ็นที่หนาขึ้นนี้ด้วยความยากลำบาก มีการเสียดสีทำให้เกิดอาการปวด หรือติดล็อคได้. (อ.นพ.กวี ภัทราดูลย์) โรคนี้พบบ่อยในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย และอายุที่พบบ่อยอยู่ประมาณ 40-50 ปี โดยมากจะเกิดกับผู้ที่ใช้งานมือในลักษณะเกร็งนิ้วบ่อย ๆ เช่น การทำงานบ้านต่าง ๆ การบิดผ้า การหิ้ว ของหนัก การใช้กรรไกรตัดกิ่งไม้ ตัดผ้า การยกของหนักต่าง ๆ เป็นต้น

อาการของโรคนิ้วล็อค แบ่งเป็น 4 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 มีอาการปวดเป็นอาการหลัก โดยจะมีอาการปวดบริเวณโคนนิ้วมือ จะมีอาการปวดมากขึ้น ถ้าเอานิ้วกดบริเวณฐานนิ้วมือด้านหน้า แต่ยังไม่มีอาการติดสะดุด
ระยะที่ 2 มีอาการสะดุด (triggering) เป็นอาการหลัก แต่อาการปวดก็มักจะเพิ่มมากขึ้นด้วย เวลาขยับนิ้วงอและเหยียดนิ้ว จะมีการสะดุดจนรู้สึกได้
ระยะที่ 3 มีอาการติดล็อคเป็นอาการหลัก โดยเมื่องอนิ้วลงไปแล้ว จะติดล็อคจนไม่สามารถเหยียดนิ้วออกเองได้ ต้องเอามืออีกข้างมาช่วยแกะ หรือ อาจมีอาการมากขึ้นจนไม่สามารถงอนิ้วลงได้เอง
ระยะที่ 4 มีการอักเสบบวมมาก จนนิ้วบวมติดอยู่ในท่างอเล็กน้อย ไม่สามารถเหยียดให้ตรงได้ ถ้าใช้มือมาช่วยเหยียดจะปวดมาก

การรักษาโรคนิ้วล็อค
1. การใช้ยารับประทาน เพื่อลดการอักเสบ ลดบวม และลดอาการปวด ร่วมกับพักการใช้มือ
2. การใช้วิธีทางกายภาพบำบัด ได้แก่ การใช้เครื่องดามนิ้วมือ การนวดเบา ๆ การใช้ความร้อนประคบ และ การออกกำลังกายเหยียดนิ้ว โดยการรักษาด้วยยาและกายภาพบำบัด อาจใช้ร่วมกันได้ และมักใช้ได้ผลดีเมื่อมีอาการของโรคในระยะแรก และระยะที่สอง
3. การฉีดยาสเตียรอยด์เฉพาะที่ เพื่อลดการอักเสบ ลดปวดและลดบวม เป็นการรักษาที่มีประสิทธิภาพค่อนข้างมาก ส่วนมากมักจะหายเจ็บบางรายอาการติดสะดุดจะดีขึ้น แต่การฉีดยามักถือว่าเป็นการรักษาแบบชั่วคราว และข้อจำกัดก็คือ ไม่ควรฉีดยาเกิด 2 หรือ 3 ครั้ง ต่อ 1 นิ้วที่เป็นโรค การรักษาโดยการฉีดยานี้สามารถใช้ได้กับอาการของโรคตั้งแต่ระยะแรกจนถึงระยะท้าย
4. การรักษาโดยการผ่าตัด ถือว่าเป็นการรักษาดีที่สุดในแง่ที่จะไม่ทำให้กลับมาเป็นโรคอีก หลักในการผ่าตัด คือ ตัดปลอกหุ้มเส้นเอ็นที่หนาอยู่ให้เปิดกว้างออก เพื่อให้เส้นเอ็นเคลื่อนผ่านได้โดยสะดวก ไม่ติดขัดหรือสะดุดอีก โดยการผ่าตัดแบ่งออกได้เป็น 2 วิธี คือ การผ่าตัดแบบเปิด เป็นวิธีมาตรฐาน ที่ควรทำในห้องผ่าตัด โดยฉีดยาชาเฉพาะที่ผ่าตัดเสร็จก็กลับบ้านได้ หลังผ่าตัดหลีกเลี่ยงการใช้งานหนัก และการสัมผัสนิ้ว ประมาณ 2 สัปดาห์(ดังรูป) อีกวิธีเป็นการผ่าตัดแบบปิด โดยการใช้เข็มเขี่ยหรือสะกิดปลอกหุ้มเอ็นออก โดยแทบไม่มีแผลให้เห็น โดยวิธีนี้อาจมีผลแทรกซ้อน ได้ถ้าไปเขี่ยหรือสะกิดถูกเส้นประสาท ดังนั้น จึงไม่แนะนำสำหรับนิ้วที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของเส้นประสาทสูง คือ นิ้วหัวแม่มือ และนิ้วชี้ และการผ่าตัดแบบปิดนี้ใช้ได้สำหรับคนไข้ที่มีอาการของโรคตั้งแต่ระยะที่สองขึ้นไป

การรักษาทางเลือก
การรักษาทางเลือกด้วย เบต้ากลูแคนมะโฮ เบต้ากลูแคนจะกระุ่ช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกันร่างกายให้ร่างกายรักษาตัวเองตามธรรมชาติ ฟื้นฟูระบบของร่างกายให้สมดุล ลดการอักเสบเอ็นของนิ้ว ทานไปสักระยะอาการของโรคนิ้วล็อคจะค่อยหายไป ข้อมูลเบต้ากลูแคนเพิ่มเติมที่ www.catsmaho.com/maho-betaglucan ตัวอย่างผู้ป่วยโรคนิ้วล็อคกับการใช้เบต้ากลูแคน VDO ด้านล่างครับ


โรคนิ้วล๊อค โรคความดันโลหิตสูง ปวดหลัง รักษาทางเลือกด้วยเบต้ากลูแคน มะโฮ


การรับประทานเบต้ากลูแคน และ package แนะนำ สำหรับผู้ป่วยโรคนิ้วล๊อค

คอร์สรักษาโรคนิ้วล๊อค แนะนำเริ่มต้น package Silver ครับ 10,000 บาท มี 4 กล่อง ให้ทานวันละ 4 ซองหรือมากกว่า แนะนำให้ทานติดต่อกันอย่างน้อย 4 เดือน หลังจากอาการดีขึ้นแล้วหรือหายแล้ว ให้ทานวันเว้นวัน หรือสัปดาห์ละ 2 ครั้ง ได้ครับ ข้อมูลเพิ่มเติมสอบถามได้ครับ O84-474-4O88 คุณนนท์ LINE ID: thaiog

"ความไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ" สำหรับท่านที่เข้ามาเยี่ยมชม เว็บ catsmaho.com กด Like Facebook รับของแถมส่วนลดมากมายครับ ^ ^
Last Edit: 9 years 3 months ago by catsmaho.
The administrator has disabled public write access.
Time to create page: 0.127 seconds
Powered by Kunena Forum